วันจันทร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

การณฑ์ที่สอง


แผนการเรียนรู้กรณฑ์ที่สอง

                                                          แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
รายวิชา  คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3                                                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3       
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  กรณท์ที่สอง  สมบัติของ เมื่อ a ≥ 0       เวลา    6    ชั่วโมง  
ใช้สอนระหว่าง   วันที่...................................ครูผู้สอน......................................
…………………………………………………………………………………………
 มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและใช้จำนวนในชีวิตประจำวัน
  1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจำนวนเต็มบวก  จำนวนเต็มลบ  ศูนย์ และจำนวนตรรกยะ
  2. รู้จักจำนวนอตรรกยะและจำนวนจริง
มาตรฐาน ค 1.2 :  เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการของจำนวนและความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินการต่าง ๆ และสามารถใช้การดำเนินการในการแก้ปัญหาได้
  1. หารากที่สองและรากที่สามของจำนวนเต็มโดยการแยกตัวประกอบและนำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาได้
  2. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการบวก การลบ และการคูณ การหาร การยกกำลังและการหารากของจำนวนเต็มและจำนวนตรรกยะ พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์ของการดำเนินการของจำนวนต่าง ๆ ได้

1. สาระสำคัญ
                   1.    เมื่อ a  เป็นจำนวนจริงใด ๆ และ  แทนค่าสัมบูรณ์ของ a
              2.   การบวกและการคูณจำนวนจริงมีสมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู่ และการ
                         แจกแจง
                           สมบัติการสลับที่สำหรับการบวก              
                  สมบัติการเปลี่ยนหมู่สำหรับการบวก        
                           สมบัติการสลับที่สำหรับการคูณ                
                 สมบัติการเปลี่ยนหมู่สำหรับการบวก       
                  สมบัติการแจกแจง      


2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
         1.   บวก ลบ คูณ และหาร จำนวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑ์ที่สองที่กำหนดให้
           
3.จุดประสงค์การเรียนรู้
   3.1 จุดประสงค์ปลายทาง
3.1.1   เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ  การบวก ลบ คูณ และหารจำนวนจริงซึ่ง
           เกี่ยวกับกรณฑ์ที่สองที่กำหนดให้
   3.2 จุดประสงค์นำทาง  นักเรียนสามารถ
            3.2.1   ใช้สมบัติของ  เมื่อ a ≥ 0 แก้ปัญหาได้
3.2.2    บวก และลบ  จำนวนจริงซึ่งเกี่ยวกับ กรณฑ์ที่สองที่กำหนดให้ได้
.             3.2.3    คูณ และหาร จำนวนจริงซึ่งเกี่ยวกับ กรณฑ์ที่สองที่กำหนดให้ได้

4.สาระการเรียนรู้
  1. สมบัติของ เมื่อ a ≥ 0
  2. การดำเนินการของจำนวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑ์ที่สอง

5.กิจกรรมการเรียนรู้
   (  ชั่วโมงที่ 1 -  2  )
  1. ครูทบทวนความหมายของรากที่สองและการใช้เครื่องหมายกรณฑ์  ตลอดจนรากที่
สองที่เป็นจำนวนตรรกยะและรากที่สองที่เป็นจำนวนอตรรกยะโดยการถามตอบและ  ยกตัวอย่างประกอบ และให้นักเรียนทำกิจกรรมที่ 1  “ยังจำได้ไหม” เพื่อทบทวนหารหารากที่สอง
  1. ชี้แจงให้นักเรียนเห็นว่าการหารากที่สองของจำนวนจริงบวกใด ๆ หรือศูนย์ หาก
          สามารถทำจำนวนนั้นให้อยู่ในรูปกำลังสองของจำนวนจริงใด ๆ จะสามารถหารากที่สองของ
         จำนวนนั้นได้ง่ายขึ้น ครูทบทวนเรื่องค่าสัมบูรณ์และให้นักเรียนทำกิจกรรม ที่ 2 “กรณฑ์ที่
         สองของ a2 เป็นเท่าไร” เพื่อให้นักเรียนหาข้อสรุปได้ว่ากรณฑ์ของ a2  เท่ากับค่าสัมบูรณ์ของ a
         จากนั้นจึงฝึกให้นักเรียนนำข้อสรุปดังกล่าวไปใช้ในการแก้ปัญหา โดยหากรณฑ์ที่สองของ a2
         เมื่อ a เป็นจำนวนเต็มบวก  จำนวนเต็มลบ เศษส่วน ทศนิยม และตัวแปรใด ๆ ตามลำดับ
  1. ยกตัวอย่าง    จงทำ   ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย 
เนื่องจาก  =
             = 
ดังนั้น      =  
ได้เขียนคำตอบของ  เป็น   โดยไม่ได้เขียนเป็น  เพราะ
          นักเรียนไม่มีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับสมบัติค่าสัมบูรณ์ การตอบว่า  หรือ ถือว่า
       ถูกต้องทั้งคู่  การหาคำตอบเกี่ยวกับการหารากที่สองโดยใช้ค่าสัมบูรณ์ นักเรียนอาจเขียน
       คำตอบติดค่าสัมบูรณ์ไว้ทั้งหมด หรือแยกเขียนเป็นผลคูณตามสมบัติค่าสัมบูรณ์ก็ได้
  1. การสอนสมบัติ  เมื่อ  และ   เมื่อ
          ให้นักเรียนสังเกตการณ์ใช้สมบัติเกี่ยวกับการคูณ ในตัวอย่างที่ 10  และตัวอย่าง
         ที่ 11 ว่าใช้อย่างไร

        ตัวอย่างที่ 2  จงทำ  ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
        วิธีทำ             เนื่องจาก   = 
                                       =               
                                                 =    
                                       =     2

      ตัวอย่างที่ 3   จงหาผลลัพธ์ของ
      วิธีทำ       เนื่องจาก =  
                                               =    =   = 8
                       ดังนั้น    =  8

      และการใช้สมบัติเกี่ยวกับการหาร ในตัวอย่างที่ 12 และตัวอย่างที่ 13 ว่าใช้อย่างไร
      ตัวอย่างที่ 4 จงทำ  ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
      วิธีทำ       เนื่องจาก   =  
                                  =    =   2
                       ดังนั้น    =  2
                       ตอบ  2
     ตัวอย่างที่ 5   จงทำ  ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
      วิธีทำ       เนื่องจาก   =  
                                  = 
                       ดังนั้น     = 
                                ตอบ    = 
  1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม  กลุ่มละ  5  คน  พร้อมกับแจกใบกิจกรรมที่ 3 “สมบัติราก
         ที่สอง”ให้นักเรียนทุกคน    แล้วให้นักเรียนในแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันเพื่อทำความเข้าใจ
      ปัญหา  และวางแผนกำหนดแนวคิดในการหาคำตอบของปัญหา  ก่อนลงมือแสดงวิธีทำเพื่อ
      หาคำตอบของปัญหา
  1. ขณะที่นักเรียนอภิปรายร่วมกันครูสามารถเข้าไปให้คำแนะนำและช่วยเสนอประเด็นในการอภิปราย  รวมถึงแจกประเด็นคำถามเพื่อกระตุ้นให้เกิดการอภิปรายให้กับนักเรียนบางกลุ่มเท่าที่จำเป็น 
  2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรายงานเกี่ยวกับแนวคิด/วิธีทำ  ในการแก้ปัญหาตาม ใบกิจกรรมที่ 3 “สมบัติรากที่สอง”ให้ให้นำเสนอผลการแก้ปัญหาหน้าชั้นเรียนโดยครูสุ่มมา
     2  กลุ่ม กลุ่มละ  1  คน  ออกมานำเสนอคนละประเด็น  โดยไม่ซ้ำกับกลุ่มเดิม  และนักเรียนที่
     เหลือสังเกตแนวคิดของเพื่อน  ตลอดจนให้กลุ่มที่มีแนวคิดที่แตกต่างออกมานำเสนอส่วนที่
     แตกต่างจากกลุ่มแรก ๆ   ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป  ครูตรวจผลงานกลุ่ม
  1. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 4 “สมบัติ และ  a < 0 ,  b < 0” ซึ่งปรับขยายจากปัญหาตามใบกิจกรรมที่ 3 “สมบัติรากที่สอง” ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลในการกำหนดแนวคิด/วิธีทำในการแก้ปัญหา  โดยให้ทำในเวลาที่เหลืออยู่  เมื่อครูตรวจแก้ไขผลงานแล้วให้นักเรียนนำเสนอโดยจัดแสดงบนป้ายนิเทศ

   (  ชั่วโมงที่ 3 - 4  )
  1. ครูให้นักเรียนอภิปรายเพื่อให้เห็นว่าการบวกและการคูณจำนวนในรูป เมื่อ  มีสมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู่ และสมบัติการแจกแจง เช่นเดียวกับการบวกและการคูณจำนวนจริง  เนื่องจาก  เมื่อ  เป็นจำนวนจริงเช่นเดียวกัน
     2.   ครูใช้ใบกิจกรรมที่ 1 “บอกได้ไหม”  เป็นกิจกรรมทั้งชั้นเรียนฝึกใช้ความรู้สึกเชิงจำนวน
         เกี่ยวกับกรณฑ์ที่สองของจำนวนตรรกยะ  ฝึกการสังเกตการใช้สมบัติของ เมื่อ  
         และใช้ค่าประมาณเป็นจำนวนที่คิดได้ง่าย ๆ ในการเปรียบเทียบจำนวนทางซ้ายมือและขวามือ
         ซึ่งจะเป็นการหลีกเลี่ยงการคำนวณโดยตรง

     3.    นักเรียนทั้งชั้นเรียนร่วมกันศึกษาใบความรู้ที่ 1 “การบวกและการลบ” และใช้การ
            ถามตอบเกี่ยวกับการใช้สมบัติการสลับที่การบวก การเปลี่ยนหมู่การบวกในการหาผลบวก
           ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม  กลุ่มละ  5  คน  พร้อมกับแจกใบกิจกรรมที่ 2 “ลองคิดดู”  
          ให้นักเรียนทุกคน    แล้วให้นักเรียนในแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันเพื่อทำความเข้าใจปัญหา 
       และวางแผนกำหนดแนวคิดในการหาคำตอบของปัญหา  ก่อนลงมือแสดงวิธีทำเพื่อหา
       คำตอบของปัญหา
    4.   ขณะที่นักเรียนอภิปรายร่วมกันครูสามารถเข้าไปให้คำแนะนำและช่วยเสนอประเด็นในการ
         อภิปราย  รวมถึงแจกประเด็นคำถามเพื่อกระตุ้นให้เกิดการอภิปรายให้กับนักเรียนบางกลุ่ม
         เท่าที่จำเป็น 
    5.  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรายงานเกี่ยวกับแนวคิด/วิธีทำ  ในการแก้ปัญหาตาม ใบ
      กิจกรรมที่ 2 “ลองคิดดู” ให้นำเสนอผลการแก้ปัญหาหน้าชั้นเรียนโดยครูสุ่มมา 2  กลุ่ม กลุ่ม
        ละ  1  คน  ออกมานำเสนอคนละประเด็น  โดยไม่ซ้ำกับกลุ่มเดิม  และนักเรียนที่เหลือสังเกต
     แนวคิดของเพื่อน  ตลอดจนให้กลุ่มที่มีแนวคิดที่แตกต่างออกมานำเสนอส่วนที่แตกต่างจาก
     กลุ่มแรก ๆ   ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป  ครูตรวจผลงานกลุ่ม
  1. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 3 “เราคิดได้”  ซึ่งปรับขยายจากปัญหาตามใบกิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียน
ปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลในการกำหนดแนวคิด/วิธีทำในการแก้ปัญหา  โดยให้ทำในเวลาที่เหลืออยู่  เมื่อครูตรวจแก้ไขผลงานแล้วให้นักเรียนนำเสนอโดยจัดแสดงบนป้ายนิเท

   (  ชั่วโมงที่ 5 - 6  )
  1.  ครูสนทนากับนักเรียนว่าสมบัติ    เมื่อ   , และ
        เมื่อ  ,  เมื่อใช้ร่วมกับสมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู่ และ
     สมบัติการแจกแจง ทำให้การดำเนินการของจำนวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑ์ที่สองทำได้สะดวกขึ้น
      และทำให้มีวิธีการที่หลากหลายการแก้ปัญหาแต่ละข้อ  ควรเลือกใช้วิธีการแตกต่างกันในการ
      แก้ปัญหาเดียวกันได้ ดังตัวอย่าง   จงหาผลลัพธ์
     วิธีที่ 1      เนื่องจาก   =
                                     =
                                     =

     วิธีที่ 2      เนื่องจาก   =
                                     =
                                     =
              ดังนั้น         = 
2.   นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1  “การคูณและการหาร”  การคิดเกี่ยวกับลำดับขั้นตอนในการทำงาน
      และการคิดหาคำตอบด้วยโดยใช้สมบัติการสลับที่การคูณ และการเปลี่ยนหมู่การคูณ ครูถามให้
      นักเรียนได้อภิปรายและเปรียบเทียบทั้งคำตอบที่ได้และวิธีคิดของแต่ละคน
3.    ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม  กลุ่มละ  5 คน  พร้อมกับแจกใบกิจกรรมที่ 1 “หาผลคูณได้อย่างไร”
      ให้นักเรียนทุกคน    แล้วให้นักเรียนในแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันเพื่อทำความเข้าใจปัญหา 
    และวางแผนกำหนดแนวคิดในการหาคำตอบของปัญหา  ก่อนลงมือแสดงวิธีทำเพื่อหาคำตอบ
      ของปัญหาขณะที่นักเรียนอภิปรายร่วมกันครูสามารถเข้าไปให้คำแนะนำและช่วยเสนอประเด็น
      ในการอภิปราย  รวมถึงแจกประเด็นคำถามเพื่อกระตุ้นให้เกิดการอภิปรายให้กับนักเรียนบาง
      กลุ่มเท่าที่จำเป็น 
4.   ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรายงานเกี่ยวกับแนวคิด/วิธีทำ  ในการแก้ปัญหาตาม ใบ
    กิจกรรมที่ 1 “หาผลคูณได้อย่างไร” ให้นำเสนอผลการแก้ปัญหาหน้าชั้นเรียนโดยครูสุ่มมา 2 
    กลุ่ม กลุ่มละ  1  คน  ออกมานำเสนอคนละประเด็น  โดยไม่ซ้ำกับกลุ่มเดิม  และนักเรียนที่เหลือ
    สังเกตแนวคิดของเพื่อน  ตลอดจนให้กลุ่มที่มีแนวคิดที่แตกต่างออกมานำเสนอส่วนที่แตกต่าง
     จากกลุ่มแรก ๆ   ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป  ครูตรวจผลงานกลุ่ม
5.   ครูแจกใบกิจกรรมที่ 2 “หาผลลัพธ์ได้อย่างไร”  ซึ่งปรับขยายจากปัญหาตามใบกิจกรรมที่ 1 “หา
     ผลคูณได้อย่างไร” ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลในการกำหนดแนวคิด/วิธีทำในการ
     แก้ปัญหา  โดยให้ทำในเวลาที่เหลืออยู่  เมื่อครูตรวจแก้ไขผลงานแล้วให้นักเรียนนำเสนอโดยจัด
     แสดงบนป้ายนิเทศ
6.   นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 2  “กรณฑ์ที่สองกับค่าประมาณ”  ในกรณีที่ผลลัพธ์ที่ได้จากการ
      ดำเนินการเป็นเศษส่วนที่ตัวส่วนอยู่ในรูปกรณฑ์ที่สอง เรามักทำตัวส่วนนั้นให้เป็นจำนวนเต็ม
     ด้วยการคูณทั้งตัวเศษและตัวส่วนด้วยกรณฑ์นั้น 
7.    ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม  กลุ่มละ  5 คน  พร้อมกับแจกใบกิจกรรมที่ 3  “กรณฑ์
      ที่สองกับค่าประมาณ” ให้นักเรียนทุกคน    แล้วให้นักเรียนในแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันเพื่อทำ
      ความเข้าใจปัญหา  และวางแผนกำหนดแนวคิดในการหาคำตอบของปัญหา  ก่อนลงมือแสดง
     วิธีทำเพื่อหาคำตอบของปัญหาขณะที่นักเรียนอภิปรายร่วมกันครูสามารถเข้าไปให้คำแนะนำ
     และช่วยเสนอประเด็นในการอภิปราย  รวมถึงแจกประเด็นคำถามเพื่อกระตุ้นให้เกิดการอภิปราย
     ให้กับนักเรียนบางกลุ่มเท่าที่จำเป็น 
8.   ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรายงานเกี่ยวกับแนวคิด/วิธีทำ  ในการแก้ปัญหาตาม ใบ
     กิจกรรมที่ 3 “กรณฑ์ที่สองกับค่าประมาณ” ให้นำเสนอผลการแก้ปัญหาหน้าชั้นเรียนโดยครู
     สุ่มมา 2  กลุ่ม กลุ่มละ  1  คน  ออกมานำเสนอคนละประเด็น  โดยไม่ซ้ำกับกลุ่มเดิม  และ
     นักเรียนที่เหลือสังเกตแนวคิดของเพื่อน  ตลอดจนให้กลุ่มที่มีแนวคิดที่แตกต่างออกมานำเสนอ
     ส่วนที่แตกต่างจากกลุ่มแรก ๆ   ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป  ครูตรวจผลงานกลุ่ม
 9.   ครูแจกใบกิจกรรมที่ 4 “ร่วมกันคิด”  ซึ่งปรับขยายจากปัญหาตามใบกิจกรรมที่ 3 “กรณฑ์ที่สอง
     กับค่าประมาณ” ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มในการกำหนดแนวคิด/วิธีทำในการแก้ปัญหา 
      โดยครูสุ่มมา 2  กลุ่ม กลุ่มละ  1  คน  ออกมานำเสนอคนละประเด็น  โดยไม่ซ้ำกับกลุ่มเดิม
       และนักเรียนที่เหลือสังเกตแนวคิดของเพื่อน  ตลอดจนให้กลุ่มที่มีแนวคิดที่แตกต่างออกมา
     นำเสนอส่วนที่แตกต่างจากกลุ่มแรก ๆ   ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป  ครูตรวจผลงานกลุ่ม
10.   ครูแจกใบกิจกรรมที่ 5 “แนวคิดของฉัน”    ซึ่งปรับขยายจากปัญหาตามใบกิจกรรมที่ 4
     “ร่วมกันคิด” ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลในการกำหนดแนวคิด/วิธีทำในการ
     แก้ปัญหา  โดยให้ทำในเวลาที่เหลืออยู่  เมื่อครูตรวจแก้ไขผลงานแล้วให้นักเรียนนำเสนอโดย
       จัดแสดงบนป้ายนิเทศ

6.   สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
1.   ใบกิจกรรมที่ 1  “ยังจำได้ไหม”
  1.  ใบกิจกรรมที่ 2   “กรณฑ์ที่สองของ a2 เป็นเท่าไร”
  2. ใบกิจกรรมที่ 3   “สมบัติรากที่สอง”
  3. ใบกิจกรรมที่ 4  “สมบัติ และ  a<0 , b<0”

  1. 7.       การวัดผลและประเมินผล

วิธีการวัดผล
เครื่องมือ
เกณฑ์การประเมิน
 1. สังเกตการตอบคำถาม                                         
2. ตรวจใบงาน
 3. สังเกตการทำงานเป็นกลุ่ม
4.  ตรวจแบบฝึกหัด
1.  ใบงาน
2.   แบบฝึกหัด
1.  ความถูกต้องเรียบร้อย
2.  ทำงานส่งตามกำหนด
3.  การทำงานร่วมกับผู้อื่น

ลงชื่อ………………………………ครูผู้สอน
          (                              )






แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

ชื่อกลุ่ม........................................................ชื่อผู้ประเมิน............................................................
ใบกิจกรรมที่.................................เรื่อง........................................................................................
คำชี้แจง  ให้ผู้ประเมินใส่ตัวเลขลงในช่องตามความเป็นจริง
                3  หมายถึง  ดีมาก           2  หมายถึง  พอใช้          1   หมายถึง  ควรปรับปรุง
ชื่อสมาชิก

รายการ

1……………

2……………

3……………

4…………….
รวม
ร้อยละ
3
2
1
3
2
1
3
2
1
3
2
1


1. การมีส่วนร่วมใน
    การวางแผน
2. การปฏิบัติตนตาม
    บทบาทหน้าที่
3. การให้ความ
   ร่วมมือในการ
    ทำงาน
4. การแสดงความ
    คิดเห็น
5. การยอมรับความ
    คิดเห็นของผู้อื่น
6. การเข้าร่วม
    กิจกรรมอย่าง
    สม่ำเสมอ
7. ความรับผิดชอบ
   งานที่ได้รับ
   มอบหมาย














รวม














ร้อยละ















เกณฑ์การประเมิน                                            ลงชื่อ..........................................ผู้ประเมิน  
ร้อยละ 80 ขึ้นไป  ระดับ   ดีมาก                                      วันที่ประเมิน............................................... 
ร้อยละ 70-79        ระดับ   ดี                              
ร้อยละ 60-69        ระดับ  พอใช้
ต่ำกว่าร้อยละ 60  ระดับ  ควรปรับปรุง


แบบประเมินแฟ้มผลงาน

ชื่อแฟ้ม................................................................................................................................................
ชื่อนักเรียน...........................................................................................................................................


เกณฑ์
รายการประเมิน
ไม่ถึง
เกณฑ์ที่คาดหวัง
ถึงเกณฑ์
ที่
คาดหวัง
เหนือ
เกณฑ์ที่
คาดหวัง
คะแนน
รวม
ข้อเสนอแนะ
(1)
(2)
(3)


การจัดการ
- การสร้างสรรค์
- การประเมินตนเอง
- ความสมบูรณ์ของรายการและนำเสนอ
ความประทับใจ
- การวางรูปแบบ
- ศิลป์
-ความคิดสร้างสรรค์
หลักฐานแสดงความเข้าใจ
- ความรู้ในเนื้อหาวิชา
- การสะท้อนข้อมูลย้อนกลับ
- แนวคิดการประยุกต์ใช้



















                                                                      รวม........................................คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับ     ดี               (22-27  คะแนน)
ระดับ     พอใช้        (16-21  คะแนน)                             ลงชื่อ..........................................ผู้ประเมิน
ระดับ    ปรับปรุง    (9-15  คะแนน)                               วันที่........เดือน.........................พ.ศ. ..........






ชื่อ…………………………
กลุ่มที่……………………..
ใบกิจกรรมที่ 1
                                                "ยังจำได้ไหม"
                
ตอนที่   ให้นักเรียนตอบคำถามว่าจำนวนใดบ้างเป็นรากที่สองของแต่ละจำนวนต่อไปนี้ และจำนวนต่อไปนี้เป็นรากที่สองของจำนวนใด  โดยปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้เป็นกลุ่ม
1.  จำนวนใดบ้างเป็นรากที่สองของแต่ละจำนวนต่อไปนี้                 
         1. 36                ตอบ......................................
               2. 196              ตอบ......................................
               3.  50               ตอบ......................................
               4.  200             ตอบ......................................
               5.               ตอบ......................................
               6.              ตอบ......................................
               7.  0.16       ตอบ......................................
               8.  0.049          ตอบ......................................
2.  จำนวนต่อไปนี้เป็นรากที่สองของจำนวนใด
         1.  4  ตอบ......................................
               2.  -25              ตอบ......................................
               3.             ตอบ......................................
               4.  0.36            ตอบ......................................
               5.           ตอบ......................................
               6.         ตอบ......................................
               7.          ตอบ......................................
               8.  ตอบ......................................








ชื่อ…………………………
กลุ่มที่……………………..
ใบกิจกรรมที่ 2
                                “กรณฑ์ที่สองของ a2 เป็นเท่าไร”


ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1.      หรือไม่
2.   เท่ากับค่าสัมบูรณ์ของ 7 หรือไม่
3.  =  หรือไม่
4.  =  15   หรือไม่
5.     เท่ากับค่าสัมบูรณ์ของ -15 หรือไม่
6.  เท่ากับค่าสัมบูรณ์ของ   หรือไม่
7.  เท่ากับค่าสัมบูรณ์ของ 0.5  หรือไม่
8.  นักเรียนคิดว่า  เท่ากับเท่าใด
9.   เท่ากับค่าสัมบูรณ์ของ -111  หรือไม่
10.  นักเรียนคิดว่า เมื่อ  a  เป็นจำนวนจริงใด ๆ เท่ากับค่าสัมบูรณ์ของ a   หรือไม่
.












                                            ใบกิจกรรมที่ 3
                                                “สมบัติของรากที่สอง

  1. จงทำจำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
1.                                =………………………….
2.                        =………………………….
3.                           =………………………….
4.                  =………………………….
5.                       =………………………….
6.     =…………………………
7.   =…………………………
8.                   =…………………………
9.      เมื่อ a >0   =…………………………
10.   =…………………………
..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/414682